ภูมิหลัง ของ จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561

ดูบทความหลักที่: จันทรุปราคา

จันทรุปราคาเกิดขึ้นเมื่อพระจันทร์เคลื่อนตัวผ่านระหว่างเงาของโลก เริ่มด้วยการที่เงาของโลกทำให้พระจันทร์มีสีเข้มขึ้นเล็กน้อย ต่อมาเงาเริ่ม "บดบัง" ส่วนของดวงจันทร์ทำให้เกิดสีแดง-น้ำตาล (สีมักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นบรรยากาศ พระจันทร์ดูเหมือนมีสีแดงเพราะการกระเจิงแบบเรเลห์ (Rayleigh scattering) ซึ่งเป็นปรากฏการเดียวกันกับที่ทำให้เกิดสีแดงขณะพระอาทิตย์ตกดิน และการหักเหของแสงนั้นโดยชั้นบรรยากาศโลกไปยังเงา[6]

การจำลองต่อไปนี้แสดงถึงลักษณะคร่าว ๆ ของดวงจันทร์ขณะผ่านเงาของโลก ส่วนเหนือของดวงจันทร์ใกล้กับตรงกลางของเงามากที่สุด จึงเป็นจุดที่มีสีเข้มและแดงที่สุด

ใกล้เคียง

จันทรุปราคา จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558 จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557 จันทรุปราคา กรกฎาคม พ.ศ. 2561 จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2558 จันทรุปราคา มีนาคม พ.ศ. 2549 จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553 จันทรุปราคา กรกฎาคม พ.ศ. 2563 จันทรุปราคา ตุลาคม พ.ศ. 2556

แหล่งที่มา

WikiPedia: จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/LE2001-2100.ht... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/appearance.htm... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEplot/LEplot2001/LE2... http://earthsky.org/tonight/super-blue-moon-eclips... http://www.hermit.org/eclipse/2018-01-31/ https://news.nationalgeographic.com/2018/01/super-... https://www.space.com/39241-first-blue-moon-total-... https://www.space.com/39532-super-blue-blood-moon-... https://www.nasa.gov/feature/super-blue-blood-moon...